วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2551

บทที่ 6 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์

1.วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหาต่อไปนี้
1.1การหาพื้นที่สามเหลี่มใดๆ
ตอบ 1.การระบุข้อมูลเข้า คือ พื้นที่รูปสามเหลี่ยมใดๆ1/2คูณ สูง คูณ ฐาน
2.การระบุข้อมูลออก คือการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมใดๆ
3.การกำหนดวิธีการประมวลผล คือโจทย์ต้องการหา "พื้นที่รูปสามเหลี่ยมใดๆ"
1.2การคำนวณหาจำนวนเงินในบัญชีเงินฝากแบบประจำที่มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ8ต่อปี เมื่อนายสมชายฝากเงินครบ5ปีด้วยเงินต้นครั้งแรกจำนวน1000บาท
ตอบ1.การระบุข้อมูลเข้า คือโจทย์กำหนดให้หาจำนวนเงินในบัญชิฃีเงินฝากแบบประจำมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ8ต่อปีเมื่อฝากครบ5ปีด้วยเงินต้นครั้ง แรกจำนวน1000บาท
2.การระบุข้อมูลออก คือ จำนวนเงินในบัญชีเงินฝาก
3 .การกำหนดวิธีการประมวลผล คือ
3.1 จำนวนเงินต้นครั้งแรก 1000บาท
3 .2มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ8ต่อปี คิดโดยนำเอา8 หาร 100 คูณ 1000มีค่าเท่ากับ80
3.3ในเวลา 5 ปี มีดอกเบี่ย เท่ากับ 80 คูณ 5 เท่ากับ 400บาท
3.4 นำผลลัพธ์ ที่ได้ 400บาทมารวมกับจำนวนเงินต้นจะมีเงินในบัญชีทั้งสิ้น1400บาท
1.3 การคำนวณเกรดเทคโนโลยีสารสนเทศให้แก่นักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คนดโยกำหนดให้คะแนนเติมในการเก็บคะแนนและการสอบทั้งหมดของวิชานี้คือ 100 คะแนนกฎเกณฑ์ในการให้เกรดคือ
-นักเรียนที่ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป ได้เกรด 4
-นักเรียนที่ไดคะแนน 70-79 ได้เกรด 3
-นักเรียนที่ได้คะแนน 60-69 ได้เกรด 2
-นักเรียนที่ได้คำแนน50-59 ได้เกรด
-นักเรียนที่ได้คะแนนตำกว่า50 ได้เกรด 0
ตอบ 1.การระบุข้อมูลเข้าจากโจทย์ข้อมูลเข้าคือ- นักเรียนมีทั้งหมด 30 คน- คะแนนเต็ม 100 คะแนนมีเกณฑ์ให้คะแนนคือ > 80 ได้เกรด 470-79 ได้เกรด 360-69 ได้เกรด 250-59 ได้เกรด 1<>
2.การระบุข้อมูลออกต้องการเกรดเฉลี่ย ของนร. ชั้นม. 4 จำนวน 30 คน
3.การกำหนดวิธีการประมวลผล1.นำคะแนนเก็บของนักเรียนทั้ง 30 คน มาตรวจสอบ ว่าแต่ละคนได้ เกรดอะไร2.นำเกรดของทั้ง 30 คนมาบวกกัน 3.นำเกรดที่บวกได้/จำนวนนร.ทั้งหมด
4.ได้เกรดวิชาเทคโนโลยีและสารสนเทศของนร.
2. ตอบ








3. หากนักเรียนเป็นโปรแกรมเมอร์ ผู้พัฒนาโปรแกรมคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักเรียนในโรงเรียน นักเรียนจะเลือกใช้ภาษาปาสคาล ภาษาจาวา หรือภาษาเดลฟายในการเขียนโปรแกรมดังกล่าว เพราะเหตุใด
ตอบหากนักเรียนเป็นโปรแกรมเมอร์ ผู้พัฒนาโปรแกรมคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักเรียนในโรงเรียน นักเรียนจะเลือกใช้ภาษาปาสคาล ภาษาจาวา หรือภาษาเดลฟายในการเขียนโปรแกรมดังกล่าว เพราะเหตุใดตอบ. จะให้เลือกภาษาปาสคาล เพราะว่าเป็นภาษาในกลุ่มโปรแกรมแบบโครงสร้าง ซึ่งมุ่งเน้นให้มีการแบ่งโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆชัดเจนจากนั้นจึงค่อยเชื่อมโยงทำให้สามารถจัดการได้โดยง่าย ภาษปาสคาลจึงเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสำหรับสร้างพื้นฐานความคิดในการเขียนโปรแกรมโครงให้แก่นักเรียน สามารถให้ทักษะในการเขียนโปรแกรมอย่างมีหลักเกณฑ์และถูกต้อง และสามารถอ่านและทำความเข้าใจได้ง่าย

บทที่ 6

วันจันทร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551

บทที่ 5 ซอฟต์แวร์

1. จงบอกความหมายของซอฟต์แวร์
ตอบ คือชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงานชุดคำสั่งเหล่านี้ที่ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอ์
2.อธิบายประสิทธิภาพของซอฟต์แวร์ประมวลคำนอกเหนือที่กล่าวในบทเรีบยนมา 3 ข้อ
ตอบ 1) สามารถควบคุมสั่งจัดวางรูปแบบเอกสารได้ใหม่ตามต้องการ (2) ช่วยควบคุมให้แก้ไขดัดแปลงข้อความเป็นกลุ่ม (3) สามารถควบคุมการแสดงตัวสะกด
3.ระบบปฎิบัติการมีหน้าที่อะไร
ตอบ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องนั้นนอกจากจะมีส่วนประกอบทางด้าน ฮาร์ดแวร์ คือตัวเครื่องแล้ว ยังต้องมีส่วนประกอบทางด้าน ซอฟต์แวร์ คือคำสั่งอีกด้วย จึงจะทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ส่วนประกอบทางด้านซอฟต์แวร์ที่สำคัญที่สุดก็คือ ระบบปฏิบัติการ ซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดส่วนหนึ่ง ที่จะทำให้เราสามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้เราได้

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) นั้นมีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับ
1. หน่วยความจำ (Memory)
2. ตัวประมวลผล (Processor)
3. อุปกรณ์ข้างเคียง (Peripheral Devices)
4. สารสนเทศ (Information)
4. จงอธิบายลักษณะของซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะทาง
ตอบ เป็นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสำหลับนำไปใช้งานเฉพาะด้านหรือในสาขาหนึ่งตามความประสงค์ของผู้ใช้
5.อธิบายประสิทธิภาพของซอฟต์แวร์ตารางการทำงานนอกเหนือจากที่กล่าวในบทเรียนมา 3 ข้อ
ตอบ 1.วิเคราะห์ข้อมูลและคำนวนตัวเลขของผู้ใช้
2.การคำนวนได้ถูกต้องและแม่นยำ
3. สามารถบันทึกข้อมูลไว้ในแผ่นบันทึกไว้มาใช้งานใหม่
6. จงบอกประโยชน์ของซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล
ตอบ ช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน ช่วยหลีกเลี่ยงความซำซ้อนของข้อมูล
7.แอสเซมบลีเป็นภาษาระดับใดและมีลักษณะใด
ตอบ เป็นภาษาระดับตำ มีลักษณะเป็นคำสั่ง เช่น ADD = + เป็นต้น
8. ตัวแปรภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องมีกี่ประเภทอะไรบ้าง
ตอบ มี 9 ประเภท 1.ภาษาฟอร์แทรน
2. ภาษาโคบอน
3. ภาษาแบซิก
4. ภาษาปาสคาล
5. ภาษาซี ซีพลัสพลัส
6. ภาษาวิชวลแบสิก
7. ภาษาเขียนโปรแกรมแบบจิตภาพ
8. ภาษาวาจา
9. ภาษาเดลฟาย

วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2551